วันพุธที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2557

contactors forklift 48v


หม้อต้มแก๊สรถโฟล์คลิฟท์ ยี่ห้อ Impco


Forklift fuel pressure specifications


FORKLIFT HYUNDAI ENGINE 4.3L V6 GM


วันศุกร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557

หม้อต้มแก๊ส รถโฟล์คลิฟท์ toyota nissan hyster komatsu ทุกยี่ห้อ





หลักการทำงานของหม้อต้มแก๊ส


หม้อต้มแก๊สหรือ Reducer ทำหน้าที่เปลี่ยนสถานะของแก๊สซึ่งปกติแล้วเวลามันอยู่
ในถังแก๊สจะเป็นของเหลว (เหมือนที่เห็นในไฟแช็คอ่ะ เป็นอย่างนั้น)ให้กลายเป็นไอ
(แก๊สจะกลายเป็นไอได้ต้องลดแรงดันลง) โดยแก๊สจากถังจะต้องผ่านหม้อต้มแก๊ส
เพื่อเปลี่ยนสถานะให้เป็นไอและส่งต่อเข้าไปยังเครื่องยนต์ ที่นี้การเปลี่ยนสถานะของ
แก๊สให้กลายเป็นไอก็ต้องใช้พลังงานมาช่วยก็คือพลังงานความร้อนจากระบบระบาย
ความร้อนของรถยนต์คือน้ำจากหม้อน้ำนั่นเองจะช่วยให้แก๊สเปลียนสถานะได้เร็วขึ้น

หม้อต้มแก๊ส LPG ก็จะมีอยู่ 2 ระบบ
1. หม้อต้มแก๊สระบบดูด หม้อต้มระบบนี้จะไม่มีแรงดันให้แก๊สออกครับ จะต้องอาศัยแรง
ดูดจากเครื่องยนต์เท่านั้นถึงจะมีแก๊สออกไป
2. หม้อต้มแก๊สระบบแก๊สหัวฉีด หม้อต้มแบบนี้จะมีแรงดันประมาณสัก 2 บาร์ได้
เพื่อส่งแก๊สไปที่หัวฉีดและจ่ายแก๊สออกไปเมื่อหัวฉีดเปิดครับ
 มาว่ากันถึงเสป็ค หม้อต้มแก๊ส 
ปกติแล้วหม้อต้มแก๊ส จะมีเสป็คบอกไว้ว่ารองรับเครื่องได้กี่แรงม้าไม่ใช่ว่าใส่แล้ว
จะมีแรงม้าตามที่ระบุเหมือนที่หลายคนเข้าใจ ซึ่งนั่นหมายถึงเข้าใจผิดครับ เช่น
เครื่องยนต์มีแรงม้า 100 แรงม้า ถ้าติดหม้อต้ม 200 แรงม้า เครื่องก็มี 100 แรงม้าเท่า
เดิม (ก็ม้าที่มีมาจากโรงงานมันแค่ 100 ตัวนี่)
แต่ถ้าหากเครื่องยนต์ 100 แรงม้า ติดหม้อต้มที่มีกำลังจ่ายแค่ 80 แรงม้า อย่างนี้มี
ปัญหาครับเวลาใช้แก๊สจะเร่งไม่ค่อยออกครับเพราะแก๊สไม่พอเลี้ยงม้า 100 ตัวของ
เครื่องยนต์ครับ อย่างน้อยเครื่องยนต์มี 100 แรงม้า หม้อต้มแก๊สก็ควรจะรองรับ
ได้สัก 100 แรงม้าหรือให้ดีเผื่อสักนิดเป็น 120 แรงม้าไรทำนองนี้ก็ได้ครับ จะได้ไม่มี
ปัญหาแก๊สจ่ายไม่พอเวลาเร่งรอบสูงๆหรือต้องการกำลังฉุดลากมากๆ ครับ

ปกติทั่วไปมันไม่เป็นไรก็ไม่มีใครจะไปรื้อมันหรอกครับ
งั้นหาเหตุที่จะรื้อดีกว่า
1. กินแก๊สมากผิดปรกติ
2. จูนไม่จบสักทีเปลี่ยนหัวฉีดแล้วด้วย
3. สตาร์ทยากเปลี่ยนหรือเช็คหัวฉีดแล้วด้วยเหมือนกัน
4. เร่งไม่ขึ้น อืดผิดปรกติ
5. น้ำในหม้อน้ำหายหรือมีคราบน้ำที่หม้อต้ม
เมื่อนับได้ 5 ข้อแล้ว ก็มารื้อเปลี่ยนชุดซ่อมกันดีกว่าครับ 555
จะอธิบายจุดต่างๆไปด้วยครับ แบบง่ายๆก็แล้วกัน

WWW.PCNFORKLIFT.COM

วันพฤหัสบดีที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2557

อะไหล่รถโฟล์คลิฟท์ ตรวจเช็ครถโฟล์คลิฟท์ TCM 01

Fork Lift Truck Drivers Guide


FORKLIFT OPERATOR MANUAL


น้ำมันหล่อลื่นเสื่อมสภาพได้อย่างไร?


น้ำมันหล่อลื่นเสื่อมสภาพได้อย่างไร?

น้ำมันหล่อลื่นแต่ละชนิดถูกออกแบและผลิตมาให้เหมาะสมกับงานแต่ละชนิด ซึ่งประกอบไป
ด้วยการนําน้ำมันพื้นฐานที่มีความหนืดเหมาะสมมาเติมสารเพิ่มคุณภาพ เพื่อให้มีคุณสมบัติพิเศษเหมาะสมกับการใช้งานเช่น สารต้านทานปฏิกิริยาออกซิเดชั่น สารป้องกันการสึกหรอ สารป้องกันสนิม สารรับแรงกดสูง เป็นต้น ซึ่งเมื่อมีการใช้งานน้ำมันไปแล้ว คุณภาพต่างๆของน้ำมันจะลดลงจนไม่เหมาะกับการใช้งานโดยการเกิดการเสื่อมสภาพมีจากหลายสาเหตุดังนี้
1. การเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นของน้ำมันหล่อลื่น ตามปกติน้ำมันจะมีการเติมสารเพิ่มคุณภาพป้องกันการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นอยู่แล้ว หากสารนี้ถูกใช้หมดไป หรือเสื่อมสภาพ น้ำมันหล่อลื่นก็จะทําปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศได้ เมื่อน้ำมันมีการทําปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ จะเกิดเป็นสารประเภทกรดและคราบยางเหนียว ปฏิกิริยานี้จะเกิดได้เร็วถ้าอุณหภูมิสูง น้ำมันหล่อลื่นจะเสื่อมสภาพ เกิดความเป็นกรด ความหนืดเพิ่ม ถ้าความเป็นกรดมีสูง จะทําให้เนื้อน้ำมันเสื่อมสภาพเร็วขึ้น เกิดยางเหนียวเกาะตามร่องรูทางผ่านของน้ำมันหล่อลื่น และในที่สุดอาจเกิดการกัดกร่อนเนื้อโลหะในเครื่องจักร
2. สารเพิ่มคุณภาพถูกใช้หมดไปหรือเสื่อมสภาพ เมื่อมีการใช้น้ำมันหล่อลื่นเป็นระยะเวลานานสารเพิ่มคุณภาพจะถูกใช้หมดไปหรือเสื่อมสภาพ หรืออาจจะมีการเปลี่ยนเป็นสารอื่นที่ไม่ช่วยเพิ่มคุณภาพนั้นอีกต่อไป ทําให้น้ำมันหล่อลื่นไม่มีคุณสมบัติดีพอที่จะทํางานได้ดีอีกต่อไป
3. มีสิ่งสกปรกจากภายนอกเข้าไปปนเปื้อนอยู่ในระบบ สารปนเปื้อนที่เมื่อเข้าไปปะปนกับ
ระบบ อาจทําให้เกิดความเสื่อมสภาพของน้ำมันหล่อลื่นเช่น น้ำ เมื่อมีการปนเปื้อนเข้าไปของน้ำ อนุภาคของน้ำจะเข้าไปแทรกตัวในเนื้อน้ำมัน ทําให้น้ำมันหล่อลื่นมีลักษณะขาว ขุ่น ความหนืดจะเปลี่ยนไป ทําให้ไม่เหมาะสมที่จะใช้งานได้อีกต่อไป เศษโลหะ เมื่อมีเศษโลหะเป็นปริมาณมากในเนื้อน้ำมัน เศษโลหะจะไปขูดกับผิวโลหะของเครื่องจักร ทําให้เกิดการสึกหรอของเครื่องจักรเกิดขึ้น น้ำมันเชื้อเพลิง เมื่อมีน้ำมันเชื้อเพลิงเข้าไปปนเปื้อนในน้ำมันหล่อลื่น จะทําให้จุดวาปไฟของน้ำมันหล่อลื่นลดลง ทําให้อาจเกิดอันตรายได้ รวมถึงความหนืดของน้ำมันหล้อลื่นก็จะลดลงด้วย

WWW.PCNFORKLIFT.COM

วิธีการลดภาวะเสี่ยงและวิธีควบคุมอันตรายในงานโฟร์คลิฟท์



วิธีการลดภาวะเสี่ยงและวิธีควบคุมอันตรายในงานโฟร์คลิฟท์
เทคนิควิธีการแรก : ห้ามโฟร์ค-ลิฟท์เข้าพื้นที่หรือปฏิเสธการใช้โฟร์ค-ลิฟท์ (Elimination)
  • ห้ามโฟร์ค-ลิฟท์เข้าพื้นที่หรือปฏิเสธการใช้โฟร์คลิฟท์
  • ออกแบบทางเดิน หรือห้ามพนักงานเข้าไปในพื้นที่การทำงานของโฟร์คลิฟท์
2.เทคนิควิธีการที่สอง : ใช้จักรกลขนถ่ายอื่นที่เหมาะสมกับลักษณะงานมากกว่า แทนการใช้โฟร์คลิฟท์ (Substitution)-กระบวนการทำงานที่เปลี่ยนไป อันตรายที่อาจเกิดก็เปลี่ยนไปด้วย ฉะนั้นการเลือกที่จะเปลี่ยนวิธีการทำงาน ต้องคำนึงถึงการลดอุบัติเหตุด้วย
3.เทคนิควิธีการที่สาม : ควบคุมเพื่อแยกการทำงาน (Separation Control)
  • ศึกษาและปรับเปลียนทางเดินภายในหน่วยงาน ไม่ให้เดินผ่านพื้นที่ทำงานของโฟร์คลิฟท์
  • ต้องไม่อนุญาตหรือต้องมีวิธีควบคุม ไม่ให้โฟร์คลิฟท์เข้าไปในพื้นที่ทำงานของคนหรือเข้าไปบนพื้นที่ทางเท้า
  • วางแผนให้คนปฏิบัติงานกับโฟร์ค-ลิฟท์ปฏิบัติงานในพื้นที่เดียวกันต่างเวลากัน ทั้งนี้ให้บ่งชี้ว่าพื้นที่ใดบ้างที่อาจได้รับอันตรายจากโฟร์ค-ลิฟท์และกำหนดให้ทำงานที่เวลาแตกต่าง
  • ปิดกั้นหรือวางแนวควบคุม แบ่งแยกการทำงานระหว่างคนกับโฟร์คลิฟท์,  
    Note-ในบางลักษณะงานการแบ่งแยกฯ ไม่จำเป็นต้องใช้รั้วแข็งเสมอไป เพียงแต่การขีดสีตีเส้นเพื่อควบคุมเขตเข้าพื้นที่ ก็เพียงพอ 
  • สำหรับงานที่ทำเป็นครั้งคราว ให้ใช้อุปกรณ์ปิดกั้นพื้นที่เป็นการชั่วคราว ซึ่งการปิดกั้นดังกล่าวต้องมีระยะห่างที่ปลอดภัยระหว่างคนกับโฟร์คลิฟท์
  • กำหนดและบริหารจัดการเส้นทางทำงานโฟร์คลิฟท์ให้เป็นระบบ เช่นกำหนดให้เดินโฟร์ค ลิฟท์แบบทางเดียว หรือแบ่งเส้นทางขนถ่ายของโฟร์คลิฟท์ไม่ให้ใช้ร่วมกับโฟร์คลิฟท์คันอื่น ยานพาหนะอื่นหรือจักรกลหนักขนถ่ายอื่นๆ
  • ใช้รั้วแข็งปิดกั้นระหว่างพื้นที่ทำงานของโฟร์คลิฟท์กับทางเท้าหรือระหว่างโฟร์คลิฟท์กับทางข้าม
        
  • ออกแบบพื้นที่ของหน่วยงานให้แยกออกจากกัน ระหว่างตึกสำนักงาน โรงจอดรถหรือโรงอาหาร กับพื้นที่ทำงานของโฟร์ค-ลิฟท์
  • ออกแบบและแสดงพื้นที่ทำงานของโฟร์ค-ลิฟท์ ไว้ในเอกสารสนับสนุนฯ หรือแสดงไว้เป็นผังการทำงานโฟร์ค-ลิฟท์  แจ้งให้พนักงานทราบ เพื่อให้เลี่ยงที่จะเข้าไปในพื้นที่การทำงานของโฟร์ค-ลิฟท์
4.เทคนิควิธีการที่สี่ : ควบคุมอุบัติเหตุโดยวิธีทางวิศวกรรม (Engineering Controls or Engineering a Solution)
  • ทาสีทางข้ามด้วยสีโทนสว่าง หากสีเก่าคร่ำคร่าให้ทาสีใหม่เพื่อให้มองเห็นชัดเจน
  • โฟร์ค-ลิฟท์ต้องถูกรักษาสภาพตามข้อกำหนดของบริษัทผู้ผลิต และเป็นไปตามกฏหมายของประเทศ
  • ตัวโฟร์ค-ลิฟท์ ต้องเป็นสีโทนสว่างและมีสัญญาณไฟวับวาบหรือสัญญาณเสียงเตือน เช่นสัญญาณไฟถอย ทั้งนี้เพื่อให้พนักงานทราบว่าโฟร์ค-ลิฟท์กำลังทำงานอยู่ 
  • ติดตั้งอุปกรณ์ส่วนควบประเภทกระจก หรืออุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์เพื่อช่วยให้คนขับทราบว่ามีคนหรือสิ่งกีดขวางบนเส้นทางที่จะเลี้ยวซ้ายขวาหรือถอยหลัง
  • ติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมความเร็ว เพื่อควบคุมไม่ให้เกินความเร็วที่หน่วยงานกำหนด
  • จัดทำทางเดิน ติดตั้งรั้วแข็ง ประตูแผงป้องกันอันตราย ป้ายเตือนป้ายห้ามและอุปกรณ์เหล่านี้ต้องทาด้วยสีโทนสว่าง
  • พ่นแถบคาดเฉียงสลับสี ซึ่งเป็นสีที่แตกต่างไปจากตัวรถ เมื่อเมื่อโฟร์คลิฟท์ต้องเข้าไปทำงานในพื้นที่ซึ่งอุปกรณ์รอบๆ คล้ายกับสีโฟร์คลิฟท์จะทำให้สังเกตได้ง่าย มองแยกได้ง่าย ไม่กลมกลืนไปกับภาวะแวดล้อมโดยรอบ
            
  • ติดตั้งกระจกโค้งหรือรั้วกั้นป้องกันอันตรายที่มุมอับ มองเห็นยากลำบาก
  • หากภายในอาคาร ต้องคำนึงถึงระบบแสงสว่างและการระบายอากาศให้เหมาะกับสภาพการทำงาน หากมีกฏหมายหรือมาตรฐานกำหนด ให้ปฏิบัติตามข้อกำหนดนั้น
เทคนิควิธีการที่ห้า : ควบคุมอุบัติเหตุโดยวิธีบริหารจัดการ (Administrative Controls)
  • ให้พนักงานขับฯ ตรวจสอบตรวจสภาพก่อนใช้โฟร์ค-ลิฟท์ประจำวัน และบันทึกในใบตรวจสอบตรวจสภาพ 
  • ช่วงเช้าและช่วงเย็น หากแสงแดดส่องเข้าตาพนักงานขับฯ ให้ปรับทิศทางปฏิบัติงานของโฟร์ค-ลิฟท์ ให้เหมาะสมกับการขนย้าย
  • พนักงานขับโฟร์ค-ลิฟท์ต้องผ่านการฝึกอบรม ประเมินผลเกี่ยวกับความรู้ ความสามารถ ก่อนอนุญาตให้ใช้โฟร์ค-ลิฟท์ในสถานที่ทำงาน และต้องอบรมทบทวนเพื่อรักษาระดับความสามารถ
  • ให้ทำประเมินความเสี่ยงและควบคุมอันตรายที่อาจเกิดจากการใช้โฟร์ค-ลิฟท์
             
  • งานปฏิบัติการซึ่งต้องทำร่วมในพื้นที่เดียวกัน ให้ร่วมพูดคุยหรือประชุมสั้นๆ ก่อนเริ่มงาน
  • จัดทำเอกสารสนับสนุนการปฏิบัติงาน เช่นเอกสารแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้โฟร์คลิฟท์ระเบียบปฏิบัติ หรือเอกสารสนับสนุนการปฏิบัติงานอื่นๆ
  • กำหนดให้ตรวจติดตามทางด้านความปลอดภัย รายงานอุบัติเหตุ รายงานอุบัติการณ์ระดับ Near Miss และสืบค้นสาเหตุเพื่อป้องกันการเกิดซ้ำ 
  • กำหนดให้มี และมีคณะอนุกรรมการทำงานเพื่อศึกษาและพัฒนาเกี่ยวกับ ความปลอดภัยในการใช้โฟร์คลิฟท์
  • ตรวจรักษาสภาพ และซ่อมบำรุงตามระยะเวลาตามคู่มือประจำเครื่อง 
  • กำหนดจุดจอดที่มองเห็นได้ชัดเจน ไม่กีดขวางทางสัญจรหรือเส้นทางขนถ่ายวัสดุ สินค้าหรือกระบวนการทำงาน
  • ห้ามผู้ไม่เกี่ยวข้อง เข้าพื้นที่การทำงานของโฟร์คลิฟท์

ซ่อมระบบแก๊สรถโฟล์คลิฟท์ MITSUBISHI 1.5 TON



WWW.PCNFORKLIFT.COM

ตรวจเช็ครถโฟล์คลิฟท์ นิชิยู



WWW.PCNFORKLIFT.COM

วันพุธที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2557

ไดสตาร์ทโฟล์คลิฟท์นิสสัน เครื่อง TD42 12V 6 สูบเป็นแบบไดตรง

General Catalogue Nissan Forklift Europe

วันจันทร์ที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2557

ตรวจเช็ครถกอล์ฟ HITACHI 02

ตรวจเช็ครถกอล์ฟ HITACHI 01

table lift

กล่องควบคุมรถกอล์ฟ

เซ็นเซอร์ชุดยกของรถ nyk 70

TCM FA15A เวลายกมีเสียงดัง

ลูกค้าสอบถามราคา โซลินนอยด์ 12v รถ power lift

ชุดบอร์ดควบคุมรถโฟล์คลิฟท์ SHINKO 2.5 ตัน ยืนขับ รุ่น 8

วันเสาร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2557

ซ่อมรถฟอร์คลิฟท์ ยี่ห้อ YALE ระบบEPS เสีย



WWW.PCNFORKLIFT.COM

เบรคดรัม

การเปลี่ยนฝักเบรคและตรวจสอบจานเบรคดรัม
          การเปลี่ยนและตรวจสอบฝักเบรคในที่นี้เป็นการเปลี่ยนฝักเบรคของดรัมเบรคล้อหลัง  ซึ่งจะกลไกเบรกมือรวมอยู่ด้วย  และจะสามารถกระทำได้ก็ต่อเมื่อเกิดการบกพร่องของระบบห้ามล้อ  เช่น อาการเบรคติด  เบรคดึงไปด้านใดด้านหนึ่ง  มีเสียงดัง  หรือเปลี่ยนตามระยะเวลาที่กำหนดไว้
       ดังนั้นลำดับขั้นตอนในการถอดและตรวจสอบจึงควรที่จะศึกษาขั้นตอนต่างๆ ให้เข้าใจ เพื่อที่จะปฎิบัติได้อย่างถูกต้อง
  1.การถอดฝักบัว  ขั้นตอนในการถอดฝักเบรคสามารถปฎิบัติได้ดังนี้
 - ถอดน๊อตล้อและล้อหลังออกด้วยประแจ
 - ยกรถขึ้นและถอดล้อออก
 - ปล่อยเบรกมือ
 - ถอดจานดรัมเบรคออก โดยการใช้ไขควงสอดเข้ารูแผ่นหลังเบรคและงัดแกนปรับตั้งอัตโนมัติออกจากโบลด์ปรับตั้ง  จากนั้นให้ใช้ไขควงอีกตัวหนึ่งหมุนสกรูปรับตั้งเพื่อทำให้สตัดดันฝักเบรกมีขนาดที่สั้นลง
 - ปลดสปริงดึงกลับฝักเบรคออก
 - ถอดสปริงยึดฝักเบรค  ตัวรองสปริง และสลักล็อคออก โดยการใช้เครื่องมือหมุนสลักยึดสปริงไป 90 องศา ขณะที่ยึดปลายสลักไว้ด้วยนิ้วมือ  ปลดขอเกี่ยวสปริงยึดฝักเบรคและฝักเบรคตัวหน้าออก
 - ถอดฝักเบรคหลัง  โดยการถอดสปริงยึดฝักเบรค ตัวรองสปริง และสลักล็อคล้อ  โดยใช้เครื่องมือหมุนสลักยึดสปริงไป  90 องศาในขณะที่ใช้นิ้วมือยึดปลายสลักไว้
 - ใช้ไขควงปลดสายเบรคมือออกจากขอยึด
 - ใช้คีมปลดสายเบรคมือออกจากแขนเบรคมือและถอดฝักเบรคหลังออก  รวมทั้งสตัดดันฝักเบรค
 - ถอดสตัดดันฝักเบรคและสปริงแขนปรับตั้ง
 - ถอดสตัดดันฝักเบรคและสปริงดึง
 - ใช้ไขควงงัดแหวนล็อคและถอดแกนปรับตั้งอัตโนมัติ
 - ใช้ไขควงงัดแหวนล็อคและถอดแขนเบรคมือออกจากฝักเบรค
   การตรวจสอบชิ้นส่วนของดรัมเบรคหลัง   
  ภายหลังจากการถอดฝักเบรคและจานดรัมเบรคออก จะต้องทำความสะอาดและตรวจสอบเสียก่อน ถ้าพบชิ้นส่วนทีมีค่าไม่เป็นไปตามที่กำหนดไว้ จึงควรเปลี่ยนชิ้นส่วนเสียใหม่  ดังนั้นการตรวจสอบชิ้นส่วนของดรัมเบรคหลังจึงมีขั้นตอนดังนี้
 - ใช้เวอร์เนียร์วัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายในจานดรัมเบรค  ถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางที่วัดได้มีค่ามากกว่าค่าที่กำหนดจึงควรที่จะเปลี่ยนใหม่
 - ตรวจสอบการสึกหรอที่ผิดปกติหรือเป็นเส้นด้านในจานดรัมเบรคซึ่งก็อาจจะต้องกลึงให้อยู่ในค่าของเส้นผ่าศูนย์กลางภายในสูงสุด
 - ตรวจวัดความหนาของผ้าเบรค ถ้าส่วนที่สึกมากกว่าค่าต่ำสุดที่กำหนด ให้เปลี่ยนเสียใหม่
 - ใช้ชอล์กทาด้านในของจานดรัมเบรคและนำฝักเบรคมาตรวจสอบการสัมผัสปกติ ถ้ารอยสัมผัสผิดปกติ ให้เจียระไนผ้าเบรคหรือเปลี่ยนใหม่
   การประกอบฝักเบรค     การประกอบฝักเบรคสามารถปฎิบัติได้หลังจากได้ทำการตรวจสอบชิ้นส่วนต่างๆหรือได้เปลี่ยนใหม่  ดังนั้นการประกอบจึงต้องปฎิบัติตามลำดับย้อนกลับการถอด  แต่อย่างไรก็ตาม
ชิ้นส่วนของเบรคล้อหลังจะมีทั้งล้อซ้ายและขวา จึงควรระมัดระวังในการประกอบ
     การประกอบฝักเบรคของล้อหลังจะสามารถปฎิบัติตามขั้นตอนดังนี้
- ก่อนประกอบให้ทาจาระบีทนความร้อนในจุดสัมผัส เช่น แผ่นหลังเบรค จุดสัมผัสฝักเบรค  แผ่นขอเกี่ยว
- ทาจาระบีที่สกรู ปรับตั้งสตัดดันฟันเบรค
- ประกอบแขนเบรคมือและใช้แหวนล็อคตัวใหม่เข้าฝักเบรคหลัง  จากนั้นใช้ฟิลเลอร์เกจวัดระยะช่องว่างระหว่างฝักเบรคกับแขนเบรคมือ  ค่าที่วัดได้จะต้องน้อยกว่า 0.35 มิลลิเมตร
- ใช้คีมประกอบแหวนล็อคให้เข้าที่
- ประกอบแกนปรับตั้งอัตโนมัติเข้ากับฝักเบรคหลัง และใช้คีมประกอบแหวนล็อค
- ประกอบสตัดเข้าแกนปรับตั้งอัตโนมัติและประกอบขอเกี่ยวของสปริงดึงกลับฝักเบรคเข้ากับฝักเบรคหลัง
- ใช้คีมปลายแหลมประกอบสปริงของแกนปรับตั้งเข้ากับแกนปรับตั้งอัตโนมัติ
- ใช้คีมปลายแหลมประกอบสายเบรคมือเข้ากับแขนเบรคมือที่อยู่กับฝักเบรค
- ใช้ไขควงดันสายเบรคมือให้เข้ากับขอเกี่ยว
- จัดฝักเบรคให้เข้าที่  โดยให้ปลายด้านบนสอดเข้ากระบอกเบรคที่ล้อ และให้ปลายอีกด้านเข้าในแผ่นขอเกี่ยว จากนั้นให้ประกอบสปริงยึดฝักเบรค  แผ่นรอง และสลัก
- ประกอบขอเกี่ยวสปริงเข้ากับฝักเบรคหลังและฝักเบรคหน้าเข้าด้วยกัน
- จัดปลายด้านบนของฝักเบรคหน้าสอดเข้าในกระบอกที่ล้อและปรับให้เข้าที่
- ใช้เครื่องมือประกอบสปริงยึดฝักเบรค  ตัวรองสปริง และสลัก
- ใช้เครื่องมือประกอบสปริงดึงกลับฝักเบรค
- ใช้กระดาษทรายขัดทำความสะอาดผ้าเบรคและผิวด้านในจานเบรคดรัม
- ตรวจสอบการทำงานของกลไกปรับตั้งอัตโนมัติด้วยการดึงแขนเบรคมือของฝักเบรคหลังขึ้นลง
- ปรับตั้งความยาวตัวปรับตั้งให้มีระยะสั้นที่สุด  และประกอบจานเบรคดรัม
- ดึงคันเบรคมือขึ้นให้สุดและดึงจนกระทั่งไม่ได้ยินเสียงดังคลิ๊ก
- ถอดจานเบรคออกและวัดเส้นผ่านศูนย์กลางภายในจานเบรค
- วัดเส้นผ่านศูนย์กลางของฝักเบรค เพื่อตรวจระยะห่างของผ้าเบรคและจานเบรคดรัม ซึ่งจะต้องมีระยะห่างประมาณ  0.6  มิลลิเมตร
- ประกอบจานเบรคดรัมและเหยียบเบรค  2  ถึง  3 ครั้ง จากนั้นจึงหมุนจานดรัมเบรคจะต้องหมุนได้อย่างอิสระ
- ประกอบล้อหลังขันน็อตให้แน่น
2. การถอดกระบอกเบรคที่ล้อ  การถอดกระบอกเบรคที่ล้อสามารถปฎิบัติได้ดังนี้
- ให้ถอดกระบอกเบรคที่ล้อออกจากแผ่นหลังเบรค  โดยการใช้ประแจคลายโบลด์ยึดกระบอกเบรคที่ล้อ
- ถอดลูกสูบ  ลูกยางเบรค  สปริงอัดออกจากกระบอกที่ล้อ
- ทำความสะอาดและตรวจการสึกหรอ  หรือสนิมที่กระบอกเบรค
- ตรวจสอบสภาพกระบอกเบรกที่ล้อด้วยโนโกเกจ
- ใช้ฟิลเลอร์เกจตรวจระยะห่างระหว่างกระบอกสูบกับลูกสูบ  ซึ่งระยะห่างระหว่างกระบอกเบรคที่ล้อลูกสูบมาตรฐาน 0.127  มิลลิเมตร ( 0.005 นิ้ว )
3. การประกอบเบรคที่ล้อ  การประกอบชิ้นส่วนของกระบอกเบรคที่ล้อให้กระทำย้อนกลับการถอดแต่ก่อนจะทำการประกอบ  ควรจะชโลมด้วยน้ำมันเบรค
WWW.PCNFORKLIFT.COM

อะไหล่ FORKLIFT TCM AND PATRS NO.

25595-22001 TCM FORKLIFT FD20Z1
222A6-42511 TCM FORKLIFT FD20Z3 ABSORBER,ENG HOOD
216G6-43501 TCM FORKLIFT FD20-700 ABSORBER,ENG HOOD
C-52-11211-13300 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 ADJUST SCREW NUT SOCKT LH
C-52-11211-13301 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 ADJUST SCREW NUT SOCKT LH
C-52-11211-23300 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 ADJUST SCREW NUT SOCKT RH
C-52-11211-23301 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 ADJUST SCREW NUT SOCKT RH
22723-79821 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 ADJUST SCREW NUT SOCKT RH
22673-72181 TCM FORKLIFT FD20Z5 ADJUSTER ASSY LH
22673-72171 TCM FORKLIFT FD20Z5 ADJUSTER ASSY RH
23653-72041 TCM FORKLIFT FD20Z1 ADJUSTER,LH
23653-72031 TCM FORKLIFT FD20Z1 ADJUSTER,RH
535C2-60401     TCM FORKLIFT           ACTUATOR
Z511740-0210 TCM FORKLIFT C240PKD AIR BREATHER ASSY
Z511740-0211 TCM FORKLIFT C240PKJ AIR BREATHER ASSY,ENGINE
23501-00301 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 AIR CLEANER ASSY
Z-5-14210-0650 TCM FORKLIFT C240 ISUZU AIR CLEANER ASSY,AIR
Z-9-14234-6290 TCM FORKLIFT C240 ISUZU AIR CLEANER BRAKET
54352-72051 TCM FORKLIFT FD35Z5 AIR CLEANER,CYCLOPAC
25591-00901 TCM FORKLIFT FD30Z7S AIR CLENNER ASSY,ELEMENT CYCLO
25591-00901A TCM FORKLIFT FD20Z2S AIR CLENNER ASSY,REPLACEMENT
Z-9-82200-7640 TCM FORKLIFT C221 ISUZU ALTERNATOR,OLD 12V/30A
Z-5-81200-3281R TCM FORKLIFT C240PKJ ALTERNATOR,REBUILT
Z-5-81200-3281 TCM FORKLIFT C240PKJ ALTERNATOR,REBUILT
Z-5-81200-3410 TCM FORKLIFT C240PKJ ALTERNATOR,REBUILT
Z-5-81200-3410R TCM FORKLIFT C240PKJ ALTERNATOR,REBUILT
24357-42101 TCM FORKLIFT FD35Z5 BALL JOINT,LEVER LH
24357-42091 TCM FORKLIFT FD35Z5 BALL JOINT,LEVER RH
03006-06308 TCM FORKLIFT FD35Z5 BEARING BALL
03146-13201 TCM FORKLIFT FD20Z5 BEARING NEEDLE,KING PIN
03071-30216 TCM FORKLIFT FD35Z5 BEARING TAPER
03071-30211 TCM FORKLIFT FD35Z5 BEARING TAPER
03071-30214 TCM FORKLIFT FD35Z5 BEARING TAPER
03071-30213 TCM FORKLIFT FD20Z5 BEARING TAPER
03126-83201 TCM FORKLIFT FD20Z5 BEARING THRUST
03126-83200 TCM FORKLIFT FD20Z1 BEARING THRUST
24234-30561      TCM FORKLIFT           BAR ROD
03146-13201      TCM FORKLIFT           BEARING
03126-83201      TCM FORKLIFT           BEARING
22574-32062      TCM FORKLIFT           BEARING
22194-32222      TCM FORKLIFT           BEARING
214A4-32041      TCM FORKLIFT           BEARING
24234-32221      TCM FORKLIFT           BEARING
23458-32052      TCM FORKLIFT           BEARING
277P8-22051      TCM FORKLIFT           BEARING

211F8-22221      TCM FORKLIFT           BEARING


22018-30304      TCM FORKLIFT           BEARING
211F8-22201      TCM FORKLIFT           BEARING
282M4-45401     TCM FORKLIFT           BEARING
282M4-45411     TCM FORKLIFT           BEARING
282M1-05091     TCM FORKLIFT           BEARING
282M1-05051     TCM FORKLIFT           BEARING
282M1-05021     TCM FORKLIFT           BEARING
282M1-05071     TCM FORKLIFT           BEARING
282M1-05251     TCM FORKLIFT           BEARING
282M1-05221     TCM FORKLIFT           BEARING
23453-02071      TCM FORKLIFT           BEARING
03071-30213      TCM FORKLIFT           BEARING
14353-12031 TCM FORKLIFT FD20Z1 BEARING,CLUTCH RELEASE
14603-52121 TCM FORKLIFT FD40Z6-C BEARING,DIFFERENTIAL
03071-32214 TCM FORKLIFT FD40Z6-C BEARING,DIFFERENTIAL
14603-52131 TCM FORKLIFT FD40Z6-C BEARING,DIFFERENTIAL
16323-52181 TCM FORKLIFT FD40Z6-C BEARING,DIFFERENTIAL
23453-02071 TCM FORKLIFT FD20Z1 BEARING,F/HUB
03146-51006 TCM FORKLIFT FD40Z2-6 BEARING,NEEDLE
14354-12031 TCM FORKLIFT FD30Z7S BEARING,NEEDLE
13071-30219 TCM FORKLIFT FD35Z5 BEARING,TAPER
13453-12031 TCM FORKLIFT FD20Z1 BEARING,THRUST C/HUB
24354-32421 TCM FORKLIFT FD40Z6 BEARING,THRUST K/PIN
AG-05910-20049 TCM FORKLIFT FD25T8 BELT
AG-05910-20049            TCM FORKLIFT           BELT
24354-30311 TCM FORKLIFT FD35Z5 BELLCRANK,CENTER ARM
23654-30411 TCM FORKLIFT FD20Z1 BELLCRANK,CENTER ARM
214A4-30151 TCM FORKLIFT FD30Z8 BELLCRANK,CENTER ARM
24454-30512 TCM FORKLIFT FD30Z7S BELLCRANK,CENTER ARM
23454-30301 TCM FORKLIFT FD20-3 BELLCRANK,CENTER ARM
23454-30304 TCM FORKLIFT FD20-3 BELLCRANK,CENTER ARM
24454-30511 TCM FORKLIFT FD30Z7 BELLCRANK,CENTER ARM
25784-30311 TCM FORKLIFT FD50.70Z7 BELLCRANK,CENTER ARM
214A4-30151a TCM FORKLIFT FD20Z3 BELLCRANK,CENTER ARM
24454-30512a TCM FORKLIFT FD20Z2 BELLCRANK,CENTER ARM
22674-30212 TCM FORKLIFT FD20Z5 BELLCRANK,CENTER ARM
22354-30202 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 BELLCRANK,CENTER ARM PLATE
23654-30441 TCM FORKLIFT FD20Z1 BELLCRANK,CENTER ARM PLATE
282M2-65041     TCM FORKLIFT           BOARD
25596-42361      TCM FORKLIFT           BOLT
23813-00061K TCM FORKLIFT FD50 BOLT KIT,W/INNER-OUTER NUT
24353-72001K TCM FORKLIFT FD50Z7 BOLT KIT,W/INNER-OUTER NUT
22353-70061A TCM FORKLIFT FD35 BOLT KIT,W/INNER-OUTER NUT
24459-42391 TCM FORKLIFT FD30Z7S BOLT,ANCHOR CHAIN LOW
24459-42381 TCM FORKLIFT FD30Z7S BOLT,ANCHOR CHAIN UP
23168-42011 TCM FORKLIFT FD20Z5 BOLT,CHAIN ANCHOR


23168-42001 TCM FORKLIFT FD20Z5 BOLT,CHAIN ANCHOR
22218-42111 TCM FORKLIFT FD20Z5 BOLT,CHAIN ANCHOR
22218-40161 TCM FORKLIFT FD20Z5 BOLT,CHAIN ANCHOR
22439-43561 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 BOLT,CHAIN ANCHOR
22439-43571 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 BOLT,CHAIN ANCHOR
22353-70031 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 BOLT,F/HUB
25303-02102 TCM FORKLIFT FD30Z8 BOLT,F/HUB
22353-70061 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 BOLT,F/HUB (110MM)
20323-70021 TCM FORKLIFT FD20Z5 BOLT,FRONT HUB
24353-72001 TCM FORKLIFT FD35Z5 BOLT,FRONT HUB
24353-72001B TCM FORKLIFT FD20Z1 BOLT,FRONT HUB
24353-72001b TCM FORKLIFT FD50Z7 BOLT,FRONT HUB
24354-42301 TCM FORKLIFT FD30Z5 BOLT,FRONT HUB
24354-43201 TCM FORKLIFT FD30Z5 BOLT,FRONT HUB
24354-72001 TCM FORKLIFT FD30Z5 BOLT,FRONT HUB
23813-00061 TCM FORKLIFT FD40Z2 BOLT,FRONT HUB
20324-40021 TCM FORKLIFT FD35-C BOLT,FRONT HUB
20324-40021K TCM FORKLIFT FD35-C BOLT,FRONT HUB KIT
23654-39821 TCM FORKLIFT FD20Z5 BOLT,R/HUB KIT W/NUT
22194-39801 TCM FORKLIFT FD30Z5 BOLT,R/HUB KIT W/NUT
22194-32371K TCM FORKLIFT FD20Z5 BOLT,R/HUB KIT W/NUT
22194-32371 TCM FORKLIFT FD20Z5 BOLT,REAR HUB
22574-32111 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 BOLT,REAR HUB
23654-32041 TCM FORKLIFT FD20Z1 BOLT,REAR HUB
22713-70031 TCM FORKLIFT FD20Z5 BOLT,STUD DRIVE SHAFT
22437-22021 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 BRACKET SEAT,(PUMP/2P3105A)
22457-22011 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 BRACKET SEAT,(PUMP/2P3105A)
CK211242-83021 TCM FORKLIFT FD30Z8 BRAKE SHOE KIT,RH (2PCS/ST)
CK211254-73021 TCM FORKLIFT FD50Z7 BRAKE SHOE KIT,RH (2PCS/ST)
CK211252-73023 TCM FORKLIFT FD45Z6 BRAKE SHOE KIT,RH (2PCS/ST)N/A
CK211252-73027 TCM FORKLIFT FD45Z7 BRAKE SHOE KIT,RH (2PCS/ST)N/A
C-52-11255-83012 TCM FORKLIFT FD40Z7 BRAKE SHOE,LH
C-52-11246-83010 TCM FORKLIFT FD40Z6 BRAKE SHOE,LH
C-52-11246-83011 TCM FORKLIFT FD40Z6 BRAKE SHOE,LH
C-52-11254-73011 TCM FORKLIFT FD50Z7 BRAKE SHOE,LH
C-52-11254-83011 TCM FORKLIFT FD50Z7 BRAKE SHOE,LH
C-52-11252-73013 TCM FORKLIFT FD45Z6 BRAKE SHOE,LH N/A
C-52-11252-83013 TCM FORKLIFT FD45Z7 BRAKE SHOE,LH N/A
CK211220-83000 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 BRAKE SHOE,PRI/SEC (2PCS/ST)
C-52-11213-73000 TCM FORKLIFT FG/FD30Z5 BRAKE SHOE,PRIMARY
C-52-11255-83022 TCM FORKLIFT FD40Z7 BRAKE SHOE,RH
C-52-11246-83020 TCM FORKLIFT FD40Z6 BRAKE SHOE,RH
C-52-11246-83021 TCM FORKLIFT FD40Z6 BRAKE SHOE,RH
C-52-11254-73021 TCM FORKLIFT FD50Z7 BRAKE SHOE,RH
C-52-11254-83021 TCM FORKLIFT FD50Z7 BRAKE SHOE,RH
C-52-11252-73023 TCM FORKLIFT FD45Z6 BRAKE SHOE,RH N/A

WWW.PCNFORKLIFT.COM